เรื่อง สุดยอดคันเบ็ด !! ทำความรู้จักคันเบ็ดต่างๆ
คันเบ็ดและน้ำหนัก ROD ACTION & POWER
บทความนี้ช่วยในการแนะนำให้เลือกคันเบ็ดได้อย่างมีประสิทธิภาพในการตกปลา เพื่ออะไร เพื่อจะที่สามารถจับปลาได้มากขึ้น ก่อนอื่นกำหนดความหมายของแต่ละคำกันก่อน
- Action คือการที่ทำให้คันเบ็ดโค้งงอ
- Taper ความเรียวเล็ก มักนำมาใช้ในการทำคันเบ็ด
- Fast action fast taper ความรวดเร็วและความเรียวเร็ว ความเร็วปานกลางกับความเรียวปานกลาง
- Power น้ำหนักความแข็งแรงคือสิ่งที่นำมาใช้กับคันเบ็ดในการตกปลา
คันเบ็ด
- Extra Fast ใช้ความงอตังแต่ 1/4 ของคันเบ็ดเปล่า
- Fast: ใช้ความงอตังแต่ 1/3 ของคันเบ็ดเปล่า
- Moderate ใช้ความงอตังแต่ 1/2 ของคันเบ็ดเปล่า
- Slow ใช้ความงอของเบ็ดขั้นต่ำ 1/3 ของคันเบ็ดเปล่าจนถึงปลายคัน
Extra Fast or Fast Action
- มีความแม่นยำในการเหวี่ยง เหมาะสำหรับการเหวี่ยงในที่แคบ
- มีความอ่อนโค้ง เนื่องจาก มีความแข็งในตัวและมีการส่งสัญญาณเมื่อเวลาปลากินเหยื่อ
- ติดตั้งตัวเบ็ดได้ง่าย และ มีความแข็งแรงโดยเฉพาะของตัวเบ็ดเดี่ยว
- มีความแข็งแรงเมื่อดึงเหยื่อจากน้ำ
- เหมาะสำหรับการลอยหรือการล่อเหยื่อที่จะต้องใช้ความเร็ว
Moderate Action
- มีประสิทธิภาพในการดึงเหยื่อได้ดี
- สามารถเหวี่ยงเบ็ดออกไปได้ไกลมากกว่า Extra Fast or Fast Action
- น้ำหนักคันเบ็ดดีมาก ดังนั้นจึงใช้แรงในการดึงคันเบ็ดน้อย
- คันเบ็ดโค้งตั้งแต่ส่วนล่างถึงส่วนกลางนั้นหมายถึงว่าปลาจะมีเวลากินเหยื่อหรือปลาจะไม่แตกตื่นได้ง่าย
- มีเวลาในการหมุนลอกเพื่อตกปลา ผลที่ตามมาคือจะลดการหักหรือการกระแทกตัวเบ็ดน้อยลง
Slow Action
- มีความอ่อนและโค้งน้อยลงเมื่อเวลาที่ล่อเหยื่อ
- ไม่ต้องออกแรงมากเมื่อเหวี่ยงคันเบ็ด
- จมน้ำได้ดีดังนั้นเหยื่อจะไม่ลอยออกจากปากปลา
- ง่ายต่อการดึงลากเมื่อปลากินเหยื่อ
- มักจะประยุกต์ใช้การปล่อยให้ลอย
Power
- ขนาดน้ำหนักของคันเบ็ดมีดังนี้ เบามาก เบา ปานกลาง หนักปานกลาง หนัก
- แน่ใจว่าคงเคยเห็นที่เขียนไว้ที่ตัวคันเบ็ด อย่างไรก็ตามไม่ได้มีบอกไว้ตายตัวถึงการจัดลำดับน้ำหนักของตัวคันเบ็ด
- ดูจากตัวอย่างนี้
- ขนาดน้ำหนักของตัวคันเบ็ด แบบ A 6-12 Ib เท่ากับน้ำหนักเบา
- ขนาดน้ำหนักของตัวคันเบ็ด แบบ B 10-17 Ib เท่ากับน้ำหนักปานกลาง
- สำหรับ 6 ib จะเป็นน้ำหนักที่เบาที่สุด ในขณะที่ขีดจำกัดอยู่ที่ 12 ib เพื่อหลีกเลี่ยงความสับสนเมื่อเราเปรียบเทียบน้ำหนักคันเบ็ด อย่าดูที่ขนาดน้ำหนักที่บอกไว้ ให้ดูที่ตัวเลขที่กำกับไว้ เช่น 6 ib จะทำให้การเปรียบเทียบง่ายขึ้น
- ขนาดเบามากมีขีดจำกัดไม่เกิน 6ib เช่น
- 1-4 lb
- 2-6 lb
- 4-6 lb
- ขนาดเบามีขีดจำกัดไม่เกิน 12ib
- 4-8 lb
- 4-10 lb
- 6-12 lb
- น้ำหนักขนาดกลางมีขีดจำกัดเกิน 18 lb
- 6-15 lb
- 8-14 lb
- 8-17 lb
- 10-17 lb
- หนักปานกลาง มีขีดจำกัดอยู่ที่ 24 lb
- 8-20 lb
- 10-20 lb
- มีขนาดหนัก ขีดจำกัดอยู่ที่ 30 lb
- 10-30 lb
- 15-30 lb
PE Rating การจัดลำดับ
การจัดลับดับแบบ The lower limit-upper limit หรือย่อๆว่า lb นั้น เป็นหลักเกณฑ์ของการจัดลำดับน้ำหนักของคันเบ็ดที่ใช้กันทั่วไป จนกระทั่งประเทศญี่ปุ่นได้นำเอา การจัดลำดับแบบ PE (polyethylene) เข้ามา เส้น PE เน้นน้ำหนักจะขึ้นอยู่กับเส้นผ่าศูนย์กลาง ระบบนี้มาจากการจัดระดับของเส้นไหม ในเบ็ดตกปลา การจัดแบบ PE นี้มักจะนำมาใช้กับเบ็ดตกปลาน้ำเค็มและเพื่อความแม่นยำ ในเวลาที่มีคลื่นหรือสภาพแวดล้อมไม่นิ่ง
มีความสับสนจากการวัดแบบ PE และวัดความหนา
ตัวอย่างเช่น
- Rodmaker ใช้เบ็ดตกปลาของเขาโดยวัดแบบ PE 4 ขั้น PE ของเขา คือ 2-4 เทียบกับแบบเก่าคือ 20lb-40lb
- Rodmaker ใช้เบ็ดตกปลาของเขาโดยวัดแบบ PE 8 ขั้น PE ของเขา คือ 4-8 เทียบกับแบบเก่าคือ 45lb-65lb
เพื่อที่จะกำจัดความสับสนนี้ นักตกปลาชาวญี่ปุ่นหลายต่อหลายคนเลิกใช้แบบ PE บริษัทอย่างเช่น Tenryu, Ripplefisher & GraphiteLeader ใช้วิธีการทดสอบเบ็ดของพวกเขาโดยการดูจากขนาดปอนด์ อย่างไรก็ตาม การทดสอบคือการสื่อสารที่ดีต่อผู้ใช้ และอาจจะลดการสับสนที่มี
ปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลต่อการเลือกน้ำหนักของคันเบ็ดคือ
- ถ้าปลาตัวใหญ่ ควรจะเลือกคันเบ็ดที่มีน้ำหนักมาก
- ถ้าใช้ตัวเบ็ดแบบหนา ก็จะเหมาะกับคันเบ็ดที่หนักเพื่อที่จะทนต่อการดึงของปลาได้
- ถ้าตั้งใจจะตกปลาที่มีน้ำหนักน้อยกว่า หนึ่งกิโลกรัม ใช้แบบเบาจะเหมาะสมกว่า
- ถ้าใช้แรงเหวี่ยงมาก ถ้าใช้การเหวี่ยงแบบสองครั้งแนะนำให้ใช้คันแบบหนัก เพราะจะสามารถดึงไว้ได้
- คันเบ็ดแบบมีมาตรฐานที่ต่ำเกินไป บางคันประดิษฐ์มาแบบต่ำกว่ามาตรฐานเพื่อที่จะให้เกิดมีน้ำหนักมาก “แข็งแรง” มากกว่าแบบมาตรฐาน
มาถึงจุดนี้นักตกปลาหลายท่านก็น่าจะพอรู้จักคันเบ็ดกันมาพอสมควรแล้ว เอาไว้ติดตามเรื่องน่าสนใจต่อๆไปได้ที่นี่เลยนะคะ <3